เคลม ประกัน 3 วิธี ทำอย่างไรให้เคลมง่าย

เคลม ประกัน 3 วิธี ทำอย่างไรให้เคลมง่าย

เคลม ประกัน

เคลม ประกัน ง่ายๆ

เคลม ประกัน เป็นเรื่องที่หลายคนคงเคยเห็นในข่าวแล้วมีคนวิจารณ์ว่าประกันไม่สามารถเรียกร้องสิทธิจากประกันที่ทำไว้ได้ ทำให้หลายคนกลัวการทำประกัน อันที่จริงมีหลายปัจจัยที่ทำให้ผู้เอาประกันภัยไม่สามารถเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากประกันที่ซื้อได้ง่ายๆ 3 วิธีที่จะทำให้คุณเคลมประกันได้ ไม่ติดปัญหา

3 วิธี เคลม ประกัน เช็คเลย เคลมได้

1. รีบทำประกัน อย่ารอนาน เพราะ ต้องให้กรมธรรม์พ้นระยะเวลารอคอย

หากกรมธรรม์พ้นระยะเวลารอคอย  สามารถเคลมได้ คุ้มครองต่อเนื่อ ไม่ว่าจะเป็นประกันสุขภาพเหมาจ่าย ประกันโรคร้ายแรงจะทให้ไม่เกิดปัญหาการเคลม 

ระยะเวลารอคอย

  1. การเจ็บป่วยใดที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลา 30 วัน หลังจากที่กรมธรรม์อนุมัติและมีผลบังคับใช้ ไม่สามารถเคลมได้

เช่น ทำประกัน เริ่มมีผลบังคับใช้วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ตลอดทั้งเดือนตุลาคมหรือ 30 วัน หากมีการเจ็บป่วยทั่วไป ปวดหัว ตัวร้อน ท้องเสีย ไข้ขึ้นสูง อ่อนเพลีย ไปหาหมอที่โรงพยาบาลไม่สามารถที่จะเบิกเคลมได้ทั้งในความคุ้มครอง ผู้ป่วยใน ipd และ ประกัน opd

2. การเจ็บป่วยบางโรคที่เกิดขึ้นในระยะเวลา 120 วัน หรือที่เรียกว่า โรคเรื้อรัง ได้แก่
-เนื้องอก ถุงน้ำดี หรือมะเร็งทุกชนิด
-การตัดทอนซิลหรืออดีนอยด์
-นิ่วทุกชนิด
-เส้นเลือดขอดที่ขา
-เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
-ต้อเนื้อหรือต้อกระจก
-ไส้เลื่อนทุกชนิด
-ริดสีดวงทวาร

2. ทำประกันในช่วงที่สุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย ทำให้ สมัครง่าย เคลมง่าย

  • โรคเรื้อรัง การเจ็บป่วยที่ยังรักษาไม่หายก่อนทำประกัน โรคที่เป็นมาแต่กำเนิด ปัญหาด้านพัฒนาการ โรคทางพันธุกรรม หากการเจ็บป่วยนั้นสืบเนื่องมาจาก อาการหรือโรคที่เคยเป็นจะไม่สามารถเคลมประกันได้
  • โรคเรื้อรัง คือโรคที่เป็นแล้วจะมีอาการหรือต้องรักษาติดต่อกันต่อเนื่องยาวนาน บางครั้งอาจจะรักสาหายแล้วแต่ก็ยังมีโอกาสกลับมาเป็นได้อีก เปรียบเทียบให้เห็นภาพ เสมือน ถ่านไฟเก่าที่จะสามารถประทุออกมาได้ทุกเมื่อ
  • เนื่องจากโรคบางโรค ไม่รวมอยู่ในกรมธรรม์ประกันภัย
    จากข้างต้น สัญญากรมธรรม์ทุกฉบับมักจะมีข้อยกเว้น หากเรามีสาเหตุหรือโรคที่เข้าข่ายข้อยกเว้นที่กำหนดไว้ เราไม่สามารถเรียกร้องค่าชดเชยได้  
  • รวมไปถึง โรคเอดส์ กามโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประกันไม่คุ้มครอง 

3. แถลงข้อมูลตามความจริง ไม่ปกปิด หรือให้ข้อมูลเท็จ เด็ดขาด ทำให้ไม่มีปัญหาการเคลม

เพราะปิดบังอาการที่มีอยู่แล้ว ถือเป็นการไม่ยึดหลักซื้อสัตย์สุจริต บริษัทประกันต้องแสดงใบตรวจสุขภาพให้ผู้ยื่นคำขอก่อนทำประกัน เพื่อให้กรมพิจารณาว่าภาวะสุขภาพสามารถประกันได้หรือไม่ หากเราปกปิดข้อเท็จจริงบางประการระหว่างขั้นตอนการสมัคร เพราะเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ต้องใช้สิทธิเรียกร้องเกิดขึ้น หากมีการปกปิดตอนทำทำได้ผ่าน แต่เมื่อเจ็บป่วย หรือเสียชีวิตจะเคลมไม่ได้ ทำให้เสียผลประโยชน์ 

ซื้อประกันออนไลน์

เคลมประกัน เมืองไทยประกันชีวิต 

1. การเคลมประกัน ที่ไม่ต้องสำรองจ่าย
บริการเคลมแฟกซ์ fax claim ได้เพิ่มความสะดวก เรียบง่าย และรวดเร็ว เพียงใช้ ID ของคุณเพื่อส่งไปที่โรงพยาบาลหรือใช้แอปพลิเคชัน MTL Click เมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลที่ทำสัญญามีมากกว่า 500 แห่งทั่วประเทศ ผ่านการประสานงานกับโรงพยาบาลที่รวดเร็วและทันสมัย เพราะมีหน่วยงานพิเศษรับผิดชอบในการรับเอกสารการเคลมประกัน บริษัทประกันภัยจะได้รับเอกสารจากโรงพยาบาล และยังคงเป็นลูกค้าต่อไปโดยที่ลูกค้าไม่ต้องดำเนินการใดๆ ทั้งสิ้น โดยรออยู่ในห้องเพื่อเซ็นชื่อและกลับบ้าน

fax claim นานไหม

การยืนยันครั้งแรกอาจทำให้เกิดความล่าช้า หากเป็นโรคทั่วไปก็ไม่ใช่โรคเรื้อรังหรือภาวะ ขั้นตอนนี้ใช้เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง หากเป็นโรคเรื้อรังจะใช้เวลาประมาณ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมงในครั้งต่อไป และอายุกรมธรรม์ไม่ยาวนานถึง 1-2 ปี และบริษัทสงสัยว่าอาจเป็นโรคที่เกิดขึ้นก่อนซื้อประกันเมื่อบริษัทถามถึงประวัติการรักษา และกรณีชำระเงินสำรองงวดแรก

2. การเรียกร้องโดยตรง
หลังจากชำระเงินค่าสินไหมทดแทนแล้ว ให้นำบิลและใบเสร็จรับเงินมายื่นคำร้องกับบริษัทโดยตรง ผ่านตัวแทน สาขา ไปรษณีย์ การรักษาในโรงพยาบาลของผู้ที่ไม่ทำสัญญา หรือความล้มเหลวในการชำระแฟกซ์ อาจเกิดขึ้นได้ กรณีที่ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบประวัติมักเกิดขึ้นเมื่อประกันเพิ่งทำประกันมาเป็นเวลานาน จากนั้นบริษัทจะพิจารณาอาการของโรคร้ายแรงเรื้อรังเป็นเวลาไม่เกิน 90 วัน ก่อนทำประกัน ช้า เร็ว ขึ้นอยู่กับจำนวนลูกค้าที่มีประวัติ หากเช็คไม่พบประวัติการประกันล่วงหน้าและพ้นระยะเวลารอประกันแล้ว ประกันจ่ายแน่นอน

ถ้าคุณอยากเริ่มวางแผนการเงิน แต่ไม่รู้ว่าจะเริ่มอย่างไร?

  • อยากออมเงิน เก็บเงิน
  • อยากสร้างความมั่นคงให้ครอบครัว
  • เสียภาษีเยอะจัง ประหยัดภาษี ควรเริ่มจัดการอย่างไร?
  • ประกันมีให้เลือกหลายแบบ เลือกไม่ถูก?

บทความ ที่น่าสนใจ

Share: